จัดพอร์ตลงทุนให้เหมาะกับอายุอย่างไร

หลังจากที่เราทำความรู้จักกับสินทรัพย์ลงทุนประเภทต่าง ๆ ในบทความตอนที่ 2 ไปแล้ว มาถึง Episode ที่ 3 นี้ ดร.พีรภัทร ฝอยทอง นักวางแผนการเงินส่วนบุคคล จะอธิบายถึงความสำคัญของการจัดพอร์ตลงทุน ว่าทำไมเราควรจัดพอร์ตเพื่อกระจายความเสี่ยง แล้วการจัดพอร์ตที่เหมาะกับแต่ละช่วงอายุนั้นต้องทำอย่างไร

jumbo jili

อายุน้อยเสี่ยงได้มาก อายุมากเสี่ยงน้อย ๆ

การจัดพอร์ตขึ้นอยู่กับความเสี่ยงที่รับได้ของแต่ละคน ต้องดูอายุด้วย ถ้าเพิ่งทำงานไม่กี่ปี อายุงานไม่เยอะ ตามทฤษฎีเขาบอกว่าคุณลงทุนเสี่ยงมากได้ เพราะถ้าคุณลงทุนแล้วคุณเจ๊ง ก็ยังมีโอกาสทำงานเก็บเงิน หาเงินมาใหม่ได้ แต่ถ้าคุณอายุเยอะแล้ว ไม่ควรลงทุนเสี่ยง เพราะหากคุณลงทุนไปแล้วเจ๊ง โอกาสที่จะทำงานเก็บเงินมันน้อยแล้ว อีกไม่กี่ปีคุณจะเกษียณ เพราะฉะนั้นคุณต้องลงทุนที่ความเสี่ยงค่อนข้างต่ำ

พอร์ตลงทุนที่ดี ควรปรับเปลี่ยนตามช่วงวัย

ดร.พีรภัทร ยกตัวอย่างการจัดพอร์ตลงทุนแบบง่าย ๆ พอเป็นไอเดียสำหรับคนที่ต้องการเริ่มลงทุน

คนอายุน้อย ๆ 20 – 30 ปี เสี่ยงได้มาก อาจลงทุนในตราสารทุน 60 – 70 เปอร์เซ็นต์ เช่น กองทุนหุ้น หรือ จะซื้อหุ้นรายตัวก็ได้ อีกประมาณ 20 – 30 เปอร์เซ็นต์ อาจลงทุนในตราสารหนี้ เช่น พันธบัตร และอีกประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์

สล็อต

อาจเก็บไว้เป็นเงินฝากธนาคาร หรือ กองทุนตราสารเงิน ที่ความเสี่ยงมันต่ำมาก อันนี้คือหลักการสำหรับคนเรียนจบใหม่ ๆ เพิ่งเริ่มทำงาน ยินดีที่จะขาดทุนได้ แต่ถ้าได้กำไรก็จะกำไรเยอะ
วัยเริ่มมีฐานะ 30 – 50 ปี เริ่มมีหน้าที่การงานดี มีเงินลงทุนได้เยอะขึ้น อาจลดระดับความเสี่ยงลงมา ลงทุนในตราสารทุน (หุ้น) สัก 40 – 50 เปอร์เซ็นต์ ส่วนตราสารหนี้อาจเพิ่มขึ้นเป็น 40 เปอร์เซ็นต์ และตราสารเงินหรือเงินฝากอีก 10 – 20 เปอร์เซ็นต์

วัยใกล้เกษียณ 50 – 60 ปี ควรลงทุนแบบความเสี่ยงต่ำ ตราสารทุน (หุ้น) ไม่ควรเกิน 20 – 30 เปอร์เซ็นต์ ที่เหลือก็จะเป็นตราสารหนี้ประมาณ 60 – 70 เปอร์เซ็นต์ และตราสารเงินหรือเงินฝากอยู่ที่ 10 – 20 เปอร์เซ็นต์ อายุเยอะแล้วทำไมยังต้องมีตราสารทุนที่บอกว่าเสี่ยงอยู่ 20 – 30 เปอร์เซ็นต์ เพราะถ้าไม่มีเลยผลตอบแทนที่ได้รับอาจจะไม่ชนะเงินเฟ้อ เราจึงยังต้องมีสินทรัพย์ตัวหนึ่งที่มีโอกาสทำกำไรได้เยอะ แต่เป็นแค่ส่วนเล็ก ๆ ของพอร์ต

สล็อตออนไลน์

เช็กและปรับพอร์ตเป็นระยะ ตามแผนการลงทุน

การปรับพอร์ตไม่ได้หมายความว่าเราเปลี่ยนตัวสินค้า แต่ต้องดูจากพอร์ตที่เราตั้งตอนแรกว่า เราต้องการมีสินทรัพย์แต่ละอย่างกี่เปอร์เซ็นต์เพื่อกระจายความเสี่ยง สมมุติเราบอกว่าเราจะลงทุนในตราสารทุน (หุ้น) ไม่เกิน 60 เปอร์เซ็นต์ และตราสารหนี้อีก 40 เปอร์เซ็นต์ แต่เมื่อเวลาผ่านไป หุ้นราคาขึ้น ทำให้พอร์ตของเราเปลี่ยนจากหุ้น 60 เปอร์เซ็นต์ กลายเป็นหุ้น 80 เปอร์เซ็นต์ ตราสารหนี้ไม่ได้ลดลง เพียงแต่หุ้นโตขึ้น นั่นแปลว่า พอร์ตของคุณมีความเสี่ยงเกินสิ่งที่คุณตั้งไว้แล้ว เพราะฉะนั้นคุณควรขายหุ้นบางส่วน ทำกำไร แล้วย้ายเงินจากกองทุนหุ้นมาอยู่ที่กองทุนตราสารหนี้แทน ปรับพอร์ตให้อยู่ในสัดส่วนที่มีความเสี่ยงตามที่คุณวางแผนไว้ตั้งแต่ต้น ควรเช็กพอร์ตทุก ๆ ปี

jumboslot

ตราสารหนี้เป็นตราสารทางการเงินที่ใช้เป็นเครื่องมือในการระดมทุน โดยผู้ออกตราสารหนี้จะมีสถานะเป็น “ลูกหนี้” ที่กู้ยืมเงินจาก “เจ้าหนี้” หรือผู้ซื้อตราสารหนี้ที่มักจะเรียกกันว่า “ผู้ลงทุน” ในการออกตราสารหนี้จะมีการกำหนดอายุ วันชำระดอกเบี้ยและเงินต้น รวมถึงอัตราดอกเบี้ย (Coupon) ที่จะจ่ายให้ผู้ลงทุนตั้งแต่เวลาที่ออกตราสารหนี้ ตราสารหนี้ยังมีสภาพคล่องสามารถซื้อขายเปลี่ยนมือได้ โดยในประเทศไทยการซื้อขายจะผ่านตลาดตราสารหนี้ที่เป็นการซื้อขายโดยตรงระหว่างผู้ซื้อและผู้ขายหรือที่เรียกว่า Over-the-Counter

slot

ตราสารหนี้สามารถแบ่งออกได้เป็นหลายประเภท เช่น

กรณีแบ่งตามประเภทผู้ออก สามารถแบ่งออกเป็น
• ตราสารหนี้ภาครัฐ หมายถึง ตราสารหนี้ที่รัฐบาลโดยกระทรวงการคลัง หรือหน่วยงานภาครัฐ เช่น ธนาคารแห่งประเทศไทย หรือ รัฐวิสาหกิจเป็นผู้ออก ได้แก่
– พันธบัตร (Bond) ซึ่งจะมีชื่อเรียกตามผู้ออก เช่น พันธบัตรรัฐบาล พันธบัตรธนาคารแห่งประเทศ หรือพันธบัตรการไฟฟ้าฝ่ายผลิต พันธบัตรรัฐวิสาหกิจบางแห่งได้รับการค้ำประกันจากรัฐบาลเพื่อเพิ่มความน่าเชื่อถือ
– ตั๋วเงินคลัง (Treasury Bill) รัฐบาลโดยกระทรวงการคลัง เป็นผู้ออก
• ตราสารหนี้ภาคเอกชน หมายถึง ตราสารหนี้ที่ออกโดยภาคเอกชนเพื่อระดมทุนไปใช้ในการดำเนินธุรกิจ แต่ต้องผ่านการควบคุมของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ได้แก่
– หุ้นกู้ (Debenture)
– ตั๋วแลกเงิน (Bill of Exchange: B/E)

ในต่างประเทศ Bond ใช้เรียกทั้งพันธบัตรรัฐบาลและหุ้นกู้เอกชน และบางกรณีใช้คำว่า Debenture

จัดพอร์ตลงทุนให้เหมาะกับอายุอย่างไร

หลังจากที่เราทำความรู้จักกับสินทรัพย์ลงทุนประเภทต่าง ๆ ในบทความตอนที่ 2 ไปแล้ว มาถึง Episode ที่ 3 นี้ ดร.พีรภัทร ฝอยทอง นักวางแผนการเงินส่วนบุคคล จะอธิบายถึงความสำคัญของการจัดพอร์ตลงทุน ว่าทำไมเราควรจัดพอร์ตเพื่อกระจายความเสี่ยง แล้วการจัดพอร์ตที่เหมาะกับแต่ละช่วงอายุนั้นต้องทำอย่างไร

jumbo jili

อายุน้อยเสี่ยงได้มาก อายุมากเสี่ยงน้อย ๆ

การจัดพอร์ตขึ้นอยู่กับความเสี่ยงที่รับได้ของแต่ละคน ต้องดูอายุด้วย ถ้าเพิ่งทำงานไม่กี่ปี อายุงานไม่เยอะ ตามทฤษฎีเขาบอกว่าคุณลงทุนเสี่ยงมากได้ เพราะถ้าคุณลงทุนแล้วคุณเจ๊ง ก็ยังมีโอกาสทำงานเก็บเงิน หาเงินมาใหม่ได้ แต่ถ้าคุณอายุเยอะแล้ว ไม่ควรลงทุนเสี่ยง เพราะหากคุณลงทุนไปแล้วเจ๊ง โอกาสที่จะทำงานเก็บเงินมันน้อยแล้ว อีกไม่กี่ปีคุณจะเกษียณ เพราะฉะนั้นคุณต้องลงทุนที่ความเสี่ยงค่อนข้างต่ำ

พอร์ตลงทุนที่ดี ควรปรับเปลี่ยนตามช่วงวัย

ดร.พีรภัทร ยกตัวอย่างการจัดพอร์ตลงทุนแบบง่าย ๆ พอเป็นไอเดียสำหรับคนที่ต้องการเริ่มลงทุน

คนอายุน้อย ๆ 20 – 30 ปี เสี่ยงได้มาก อาจลงทุนในตราสารทุน 60 – 70 เปอร์เซ็นต์ เช่น กองทุนหุ้น หรือ จะซื้อหุ้นรายตัวก็ได้ อีกประมาณ 20 – 30 เปอร์เซ็นต์ อาจลงทุนในตราสารหนี้ เช่น พันธบัตร และอีกประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์

สล็อต

อาจเก็บไว้เป็นเงินฝากธนาคาร หรือ กองทุนตราสารเงิน ที่ความเสี่ยงมันต่ำมาก อันนี้คือหลักการสำหรับคนเรียนจบใหม่ ๆ เพิ่งเริ่มทำงาน ยินดีที่จะขาดทุนได้ แต่ถ้าได้กำไรก็จะกำไรเยอะ
วัยเริ่มมีฐานะ 30 – 50 ปี เริ่มมีหน้าที่การงานดี มีเงินลงทุนได้เยอะขึ้น อาจลดระดับความเสี่ยงลงมา ลงทุนในตราสารทุน (หุ้น) สัก 40 – 50 เปอร์เซ็นต์ ส่วนตราสารหนี้อาจเพิ่มขึ้นเป็น 40 เปอร์เซ็นต์ และตราสารเงินหรือเงินฝากอีก 10 – 20 เปอร์เซ็นต์

วัยใกล้เกษียณ 50 – 60 ปี ควรลงทุนแบบความเสี่ยงต่ำ ตราสารทุน (หุ้น) ไม่ควรเกิน 20 – 30 เปอร์เซ็นต์ ที่เหลือก็จะเป็นตราสารหนี้ประมาณ 60 – 70 เปอร์เซ็นต์ และตราสารเงินหรือเงินฝากอยู่ที่ 10 – 20 เปอร์เซ็นต์ อายุเยอะแล้วทำไมยังต้องมีตราสารทุนที่บอกว่าเสี่ยงอยู่ 20 – 30 เปอร์เซ็นต์ เพราะถ้าไม่มีเลยผลตอบแทนที่ได้รับอาจจะไม่ชนะเงินเฟ้อ เราจึงยังต้องมีสินทรัพย์ตัวหนึ่งที่มีโอกาสทำกำไรได้เยอะ แต่เป็นแค่ส่วนเล็ก ๆ ของพอร์ต

สล็อตออนไลน์

เช็กและปรับพอร์ตเป็นระยะ ตามแผนการลงทุน

การปรับพอร์ตไม่ได้หมายความว่าเราเปลี่ยนตัวสินค้า แต่ต้องดูจากพอร์ตที่เราตั้งตอนแรกว่า เราต้องการมีสินทรัพย์แต่ละอย่างกี่เปอร์เซ็นต์เพื่อกระจายความเสี่ยง สมมุติเราบอกว่าเราจะลงทุนในตราสารทุน (หุ้น) ไม่เกิน 60 เปอร์เซ็นต์ และตราสารหนี้อีก 40 เปอร์เซ็นต์ แต่เมื่อเวลาผ่านไป หุ้นราคาขึ้น ทำให้พอร์ตของเราเปลี่ยนจากหุ้น 60 เปอร์เซ็นต์ กลายเป็นหุ้น 80 เปอร์เซ็นต์ ตราสารหนี้ไม่ได้ลดลง เพียงแต่หุ้นโตขึ้น นั่นแปลว่า พอร์ตของคุณมีความเสี่ยงเกินสิ่งที่คุณตั้งไว้แล้ว เพราะฉะนั้นคุณควรขายหุ้นบางส่วน ทำกำไร แล้วย้ายเงินจากกองทุนหุ้นมาอยู่ที่กองทุนตราสารหนี้แทน ปรับพอร์ตให้อยู่ในสัดส่วนที่มีความเสี่ยงตามที่คุณวางแผนไว้ตั้งแต่ต้น ควรเช็กพอร์ตทุก ๆ ปี

jumboslot

ตราสารหนี้เป็นตราสารทางการเงินที่ใช้เป็นเครื่องมือในการระดมทุน โดยผู้ออกตราสารหนี้จะมีสถานะเป็น “ลูกหนี้” ที่กู้ยืมเงินจาก “เจ้าหนี้” หรือผู้ซื้อตราสารหนี้ที่มักจะเรียกกันว่า “ผู้ลงทุน” ในการออกตราสารหนี้จะมีการกำหนดอายุ วันชำระดอกเบี้ยและเงินต้น รวมถึงอัตราดอกเบี้ย (Coupon) ที่จะจ่ายให้ผู้ลงทุนตั้งแต่เวลาที่ออกตราสารหนี้ ตราสารหนี้ยังมีสภาพคล่องสามารถซื้อขายเปลี่ยนมือได้ โดยในประเทศไทยการซื้อขายจะผ่านตลาดตราสารหนี้ที่เป็นการซื้อขายโดยตรงระหว่างผู้ซื้อและผู้ขายหรือที่เรียกว่า Over-the-Counter

slot

ตราสารหนี้สามารถแบ่งออกได้เป็นหลายประเภท เช่น

กรณีแบ่งตามประเภทผู้ออก สามารถแบ่งออกเป็น
• ตราสารหนี้ภาครัฐ หมายถึง ตราสารหนี้ที่รัฐบาลโดยกระทรวงการคลัง หรือหน่วยงานภาครัฐ เช่น ธนาคารแห่งประเทศไทย หรือ รัฐวิสาหกิจเป็นผู้ออก ได้แก่
– พันธบัตร (Bond) ซึ่งจะมีชื่อเรียกตามผู้ออก เช่น พันธบัตรรัฐบาล พันธบัตรธนาคารแห่งประเทศ หรือพันธบัตรการไฟฟ้าฝ่ายผลิต พันธบัตรรัฐวิสาหกิจบางแห่งได้รับการค้ำประกันจากรัฐบาลเพื่อเพิ่มความน่าเชื่อถือ
– ตั๋วเงินคลัง (Treasury Bill) รัฐบาลโดยกระทรวงการคลัง เป็นผู้ออก
• ตราสารหนี้ภาคเอกชน หมายถึง ตราสารหนี้ที่ออกโดยภาคเอกชนเพื่อระดมทุนไปใช้ในการดำเนินธุรกิจ แต่ต้องผ่านการควบคุมของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ได้แก่
– หุ้นกู้ (Debenture)
– ตั๋วแลกเงิน (Bill of Exchange: B/E)

ในต่างประเทศ Bond ใช้เรียกทั้งพันธบัตรรัฐบาลและหุ้นกู้เอกชน และบางกรณีใช้คำว่า Debenture