สิ่งที่ต้องรู้ก่อนซื้อกองทุนตราสารหนี้

แต่พอได้ลองซื้อเองถึงได้รู้ว่าถ้าเลือกเป็น กองทุนมีบางมุมดีกว่าเงินฝากจริงๆ โดยเฉพาะผล ตอบแทน ยิ่งเงินส่วนนี้ถ้าไม่ได้เอาไปซื้อหุ้นหรือทำธุรกิจยังไงคงอยู่ในบัญชีนี่แหละไม่ได้ไปไหน สู้เอาไปไว้ในกองทุนที่ให้ผลตอบแทนสูงขึ้นน่าจะดีกว่า แค่ว่าตอนซื้อกองทุนมีเรื่องที่ต้องรู้ไว้ก่อน อยู่ 3 เรื่องด้วยกัน คือ

jumbo jili

  1. เลือกกอง ให้เหมาะกับเวลา

เอาจริงตอนซื้อกองทุนตราสารหนี้ ถึงเป็นแบบซื้อขายวันไหนก็ได้ แต่ทั้งคนขายและหนังสือชี้ชวนฯ (Fund Fact Sheet) ก็บอกอยู่ตลอดว่าแต่ละกองทุนควรถือไว้นานไม่เท่ากัน

ที่ดูๆ มามีตั้งแต่หลักสัปดาห์ไปจนถึง 1 ปี ยังไงลองเลือกให้เหมาะกับเวลาที่ตั้งใจทิ้งเงินไว้ หรือ ถ้าก้อนไหนทิ้งได้นานเกินปี ลองไว้ในกองทุนที่บอกว่าเหมาะกับ 1 ปีขึ้นไป เพราะกองทุนพวกนี้ ปกติจะให้ผลตอบแทนสูงกว่ากองทุนที่บอกว่าควรถือสั้นๆ


ทีตอนฝากประจำยังเลือกเลยว่าจะฝากสั้น 3 เดือน
หรือฝากยาว 1 ปี ก่อนซื้อกองทุนตราสารหนี้
จะดูระยะเวลาสักหน่อย คงไม่ใช่เรื่องแปลกอะไร

สล็อต

  1. ราคากอง มีขึ้นลง

ราคากองทุน หรือที่เรียกกันติดปากว่า NAV เป็นอะไรที่ขึ้นลงได้ทุกสิ้นวัน หลายอาจแอบงงว่า เอ๊ะ! ตราสารหนี้ขาดทุนได้ไง ในเมื่อคนออกตราสารหนี้ยังไม่เจ๊งหรือเบี้ยวหนี้สักหน่อย ต้องบอก ว่าของที่กองทุนเอาเงินไปลงทุนต้องมีการ Mark to Market ทุกวัน (ขอแปลสั้นๆ ว่า “ราคา ตลาด” ละกัน) ลองจินตนาการดูนะว่า ถ้าอยู่ดีๆ มีใครก็ไม่รู้ออกตราสารหนี้ใหม่มาแต่ให้ดอกเบี้ยสูงกว่า ตราสารหนี้เดิมคงน่าสนใจน้อยลงราคาเลยต่ำลง ทำให้ NAV ของกองทุนที่ถือตราสารหนี้พวกนี้ลดต่ำลงไปด้วย

ยังไงซะ ถ้ากองทุนยังถือตราสารหนี้ที่ว่าไปจนครบอายุซึ่งยังได้ทั้งดอกเบี้ยและเงินต้นครบถ้วน เงินลงทุนส่วนนี้จะกลับมากำไรได้ ทำให้ NAV ของกองทุนกลับมาเป็นบวกได้ด้วย เลยอยากจะ บอกว่า NAV กองทุนตราสารหนี้จะบวกจะลบบ้างก็ไม่แปลก แต่ถ้าเราถือกองทุนตามระยะเวลา ที่เขาแนะนำไว้ ย่อมมีโอกาสน้อยที่เมื่อถึงเวลาเงินส่วนนี้จะขาดทุน

สล็อตออนไลน์

  1. เอาเงินออก ต้องรอหน่อย

จริงๆ เรื่องนี้ไม่ได้ซีเรียสเท่าไร แค่ต้องเข้าใจว่าถ้าอยากใช้เงินต้องรอ 1-4วันทำการ ถึงจะได้เงิน ออกมาได้ เช่น ถ้าเป็นกองทุนที่ระบุไว้ว่า “ระยะเวลาการรับเงินค่าขายคืน” เป็น T+2 กองทุนแบบ นี้ถ้าขายคืนวันศุกร์ก่อน 15.30 น. (ขึ้นกับแต่ละกองทุนนะ) และไม่ติดช่วงหยุดยาว จะได้เงินเข้าออมทรัพย์ในวันอังคาร

เพราะ ถ้าช่วงไหนมีแผนเอาเงินไปเที่ยวช่วงหยุดยาวขายคืนล่วงหน้าหน่อยก็ดี ไม่ต้องไปรอใกล้ๆเดี๋ยวจะขายคืนไม่ทัน

ถ้าให้ดีผูกเงินฝากและกองทุนไว้กับ K PLUS เลย ตอนซื้อตอนขายจะได้ทำได้ทันที ไม่ต้องไปรอ คิวที่สาขา เดี๋ยวทำไม่ทัน 15.30 น. เอา ถึงตรงนี้ คงบรรลุในกองทุนตราสารหนี้กันแล้ว ส่วนใครมองว่าผลตอบแทนยังไม่ถึงใจ จะลองไปดูกองทุนผสมหรือกองทุนหุ้นด้วยก็ได้

jumboslot

คนเขียนไม่น้อยใจหรอก เงินคนอ่านทั้งนั้นคนเขียนไม่ได้สักบาทเดียว แต่อยากจะฝากไว้ว่าควร แบ่งเงินให้ดีๆ ส่วนไหนที่ลงทุนยาวได้ไปกองทุนหุ้นก็ไม่ว่า แต่ถ้าเงินส่วนไหนยังจำเป็นต้องใช้ใน ช่วงสั้นๆ หรือยังไม่รู้จักการลงทุนดีพอ ทางที่ดีค่อยๆเริ่มที่กองทุนตราสารหนี้ก่อนจะได้สบายใจ

เป็นแผนการลงทุนที่ต้องการผลตอบแทนจาการลงทุนที่ค่อนข้างสม่ำเสมอ ไม่หวือหวา ไม่ลงทุน ในตราสารลงทุนจึงมีความเสี่ยงจากการลงทุนในระดับค่อนข้างต่ำดังนั้นแผนตราสารหนี้จึงเหมาะกับผู้ลงทุนที่ยอมรับผลตอบแทนจากการลงทุนที่ไม่สูงมากนัก เพื่อแลกกับความมั่นคงในการลงทุนที่สูงกว่าแผนหลักและแผนผสมหุ้นทวี

slot

เป็นแผนการลงทุนที่มีการลงทุนเฉพาะในหลักทรัพย์ อันเป็นหรือเกี่ยวข้องกับเงินฝากตราสารแสดงสิทธิในหนี้ การลงทุนในตราสารอนุพันธ์รวมทั้งธุรกรรมทางการเงินอื่นที่เกี่ยวข้องกับหลักทรัพย์ดังกล่าวทั้งในและต่างประเทศ ทั้งนี้ อาจมีการลงทุนเพื่อป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศด้วย

ลักษณะ
เป็นแผนที่ลงทุนเฉพาะหลักทรัพย์ประเภทตราสารแสดงสิทธิในหนี้ (ระยะสั้นและระยะยาว) เท่านั้น โดยไม่ลงทุนในตราสารทุนแต่อย่างใด

ผลตอบแทน และความเสี่ยง
มีโอกาสได้รับผลตอบแทนและความเสี่ยงในระดับจำกัด แต่ยังอาจมีความผันผวนของผลตอบแทนในระยะสั้นอยู่บ้าง

กลุ่มผู้ลงทุน
เหมาะสำหรับสมาชิกที่ต้องการความเสี่ยงต่ำ โดยคาดหวังผลตอบแทนในระยะยาวที่สูงกว่าการฝากเงิน

สัดส่วนการลงทุนเป้าหมาย
กบข. จะบริหารเงินกองทุนให้สัดส่วนการลงทุนอยู่ใกล้เคียงเป้าหมายการลงทุน ซึ่งสัดส่วนการลงทุนในแต่ละวันอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามราคาตลาดของตราสารที่ลงทุน ในขณะเดียวกัน กบข. อาจปรับเปลี่ยนสัดส่วนการลงทุนเป้าหมายให้เหมาะสมกับภาวะเศรษฐกิจและภาวะตลาดในขณะนั้น ๆ ทั้งนี้ สัดส่วนดังกล่าวจะอยู่ภายใต้กรอบส่วนเบี่ยงเบนที่คณะกรรมการ กบข. กำหนด

ส่วนประกอบของตราสารหนี้ทุกประเภท

ส่วนประกอบหลักของตราสารหนี้ทุกประเภทนั้นจะมีเหมือนกันหมด ดังต่อไปนี้

jumbo jili

  1. มูลค่าที่ตราไว้/ มูลค่าหน้าตั๋ว (Par value) คือ มูลค่าเงินต้นที่ผู้ออกตราสารหนี้สัญญาจะชำระคืนให้กับผู้ลงทุนตราสารหนี้เมื่อครบกำหนดอายุไถ่ถอน ทั้งนี้ ตราสารหนี้ส่วนใหญ่จะกำหนดPar value ที่ 1,000 บาทต่อหน่วย
  2. อัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋ว (Coupon rate) คือ อัตราดอกเบี้ยที่ผู้ออกตราสารหนี้สัญญาจะจ่ายให้กับผู้ลงทุนในตราสารหนี้ตามงวดที่กำหนดตลอดอายุของตราสารหนี้นั้น ๆ โดยสามารถกำหนดเป็น “ดอกเบี้ยคงที่” หรือ “อัตราดอกเบี้ยลอยตัว” ก็ได้ ทั้งนี้ ดอกเบี้ยที่จะได้รับคำนวณโดยการนำ Coupon rate คูณกับ Par valueเช่น 8% ต่อปีคูณกับ 1,000 จะได้ Coupon เท่ากับ 80 บาทส่วนอัตราดอกเบี้ยลอยตัวจะอ้างอิงกับอัตราดอกเบี้ยต่างๆ เช่น อ้างอิงกับอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ 1 ปี(ณ เวลานั้นอยู่ที่ 0.5%) +1%เป็นต้นจะได้ Coupon rateที่ 1.5% คิดเป็น Coupon เท่ากับ 15 บาท เป็นต้น
  3. งวดการจ่ายดอกเบี้ย (Coupon frequency) เป็นการระบุจำนวนงวดของการจ่ายดอกเบี้ยต่อปี เช่น จ่ายทุก 6 เดือน (2 ครั้งต่อปี), จ่ายทุกไตรมาส (4 ครั้งต่อปี) เป็นต้นทั้งนี้ ตราสารหนี้ส่วนใหญ่ในตลาดโดยเฉพาะพันธบัตรภาครัฐจะกำหนดจ่ายดอกเบี้ยทุก 6 เดือน

สล็อต

  1. วันที่เสนอขาย (Issue Date) คือ วันที่มีการเสนอขายตราสารหนี้นั้น ๆ
  2. วันครบกำหนดไถ่ถอน (Maturity date) คือ วันครบกำหนดอายุของตราสารหนี้ซึ่งผู้ออกจะต้องจ่ายคืนเงินต้นและดอกเบี้ยงวดสุดท้าย (ถ้ามี) ให้กับผู้ลงทุนในตราสารหนี้
  3. อายุของตราสารหนี้ (Issue Term/Tenor) ซึ่งจะมีทั้งตราสารหนี้ระยะสั้น และ ตราสารหนี้ระยะยาว ทั้งนี้ สำหรับตราสารหนี้ภาครัฐจะใช้เกณฑ์อายุที่ 365 วันเป็นตัวกำหนด หากอายุไม่เกิน 365 วันจะเป็นตราสารหนี้ระยะสั้น หากอายุมากกว่า 365 วัน จะเป็นตราสารหนี้ระยะยาว ขณะที่ตราสารหนี้ภาคเอกชนจะใช้เกณฑ์อายุที่ 270 วันเป็นตัวกำหนด หากอายุไม่เกิน 270 วันจะเป็นตราสารหนี้ระยะสั้น หากอายุมากกว่า 270 วันจะเป็นตราสารหนี้ระยะยาว
  4. ชื่อผู้ออกตราสารหนี้ (Issuer name) เป็นการระบุว่าใครเป็นผู้ออกตราสารหนี้นั้น ซึ่งหลัก ๆ ก็จะมี 2 กลุ่ม ได้แก่ ภาครัฐและ ภาคเอกชน นั่นเอง
  5. ประเภทของตราสารหนี้ (Type) เป็นการระบุประเภทของตราสารหนี้นั้น เช่น หุ้นกู้มีประกัน/ไม่มีประกันหุ้นกู้ด้อยสิทธิ/ไม่ด้อยสิทธิ เป็นต้น

สล็อตออนไลน์

  1. อันดับความน่าเชื่อถือ (Credit rating) เป็นข้อมูลที่แสดงถึงการประเมินความสามารถในการชำระหนี้ของผู้ออกตราสารหนี้ อันดับความน่าเชื่อถือที่สูงก็ถือว่ามีความปลอดภัยสูง หรือแปลได้ว่า มีความเสี่ยงที่จะไม่ได้รับชำระเงินต้นคืน ค่อนข้างต่ำ อันดับความน่าเชื่อถือนี้จะประเมินจากประวัติทางการเงินและความสามารถในการชำระหนี้ของผู้ออกหุ้นกู้ โดยบริษัทจัดอันดับเครดิตเป็นผู้ทำการประเมิน
  2. เงื่อนไขพิเศษ (Options)เป็นการระบุถึงสิทธิพิเศษที่ให้แก่ผู้ออกตราสารหนี้ / ผู้ลงทุนตราสารหนี้ ในการเลือกที่จะปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้หรือไม่ เช่น ผู้ออกมีสิทธิในการไถ่ถอนตราสารหนี้ก่อนกำหนด (Call option), ผู้ลงทุนมีสิทธิในการขายคืนตราสารหนี้ก่อนกำหนด (Put option), ผู้ลงทุนมีสิทธิในการแปลงสภาพของตราสารหนี้ (Convert option) เป็นต้น
  3. ข้อสัญญา (Covenants) เป็นเงื่อนไขที่ผู้ออกหุ้นกู้จะต้องปฏิบัติ (Affirmative covenants) หรือ ต้องไม่ปฏิบัติ (Negative covenants) สิ่งหนึ่งสิ่งใดก็ตาม เพื่อรักษาประโยชน์ของผู้ลงทุนในตราสารหนี้นั้น ๆ เช่น กำหนดให้ผู้ออกตราสารหนี้จะต้องดำรงอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (debt to equity ratio) ให้ไม่เกินอัตราที่ระบุไว้ เป็นต้น
    • วิธีอ่านสัญลักษณ์ตราสารหนี้

jumboslot

เนื่องจากจำนวนรุ่นของตราสารหนี้ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนที่ออกเสนอขายในตลาดมีเป็นจำนวนมาก ดังนั้น จึงจำเป็นที่จะต้องมีการกำหนดสัญลักษณ์ของตราสารหนี้ให้มีมาตรฐานเดียวกัน เพื่อสื่อความหมายให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องได้เข้าใจตรงกัน
ThaiBMA ได้กำหนดมาตรฐานสัญลักษณ์ตราสารหนี้และประกาศใช้เมื่อปี 2543 ตั้งแต่ยังมีสถานะเป็นศูนย์ซื้อขายตราสารหนี้ไทย (ThaiBDC) หลังจากเปลี่ยนสถานะเป็นสมาคม ThaiBMA ได้ปรับปรุงมาตรฐานการกำหนดสัญลักษณ์ตราสารหนี้ เพื่อให้รองรับตราสารหนี้ระยะสั้นที่สำนักงาน ก.ล.ต. กำหนดให้ต้องขึ้นทะเบียนกับ ThaiBMA โดยประกาศใช้ในปี 2549 และเพื่อรองรับปริมาณการออกตราสารหนี้ที่เพิ่มมากขึ้น ThaiBMA ได้ปรับปรุงสัญลักษณ์ตราสารหนี้อีกครั้ง ซึ่งจะมีผลใช้บังคับในวันที่ 1 มกราคม 2551 โดยสาระสำคัญที่เปลี่ยนแปลงไปจากมาตรฐานที่ประกาศใช้ในปี 2549 นั้นประกอบด้วย

  • การขยายชื่อย่อของบริษัทหรือองค์กรที่ออกตราสารหนี้จากที่กำหนดให้มีได้ไม่เกิน 4 ตำแหน่งเป็นไม่เกิน 6 ตำแหน่ง และในกรณีที่ผู้ออกเป็นบริษัทในตลาดหลักทรัพย์ ฯ ก็ให้ใช้ชื่อย่อเดียวกันกับที่ใช้อ้างอิงในหุ้นสามัญ

slot

  • หลักเกณฑ์การกำหนดสัญลักษณ์ที่ปรับปรุงใหม่จะใช้เหมือนกันทั้งตราสารหนี้ภาครัฐและเอกชน ได้แก่ หลักเกณฑ์สำหรับตราสารหนี้ระยะยาว ระยะสั้น และตราสารหนี้ประเภทไถ่ถอนเมื่อเลิกบริษัท (Perpetual Bond) การเปลี่ยนแปลงข้างต้น ส่งผลให้สัญลักษณ์ตราสารหนี้มีความยาวสูงสุดเพิ่มขึ้นเป็น 12 ตัวอักษร จากเดิมที่ไม่เกิน 8 ตัวอักษร
    ตัวอย่าง
    ตราสารหนี้ระยะยาว
    สัญลักษณ์ TRUE174A หมายถึง หุ้นกู้ระยะยาวของบริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ครบกำหนดไถ่ถอนในเดือนเมษายน ค.ศ. 2017 เป็นหุ้นกู้รุ่นแรกของบริษัทที่ครบกำหนดไถ่ถอนในเดือนและปีดังกล่าว
    ตราสารหนี้ระยะสั้น
    สัญลักษณ์ BEC17612A หมายถึง ตั๋วแลกเงินของบริษัท บีอีซี เวิลด์ จำกัด (มหาชน) ครบกำหนดไถ่ถอนในวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 2017 เป็นหุ้นกู้รุ่นแรกของบริษัทที่ครบกำหนดไถ่ถอนในวัน เดือนและปีดังกล่าว

รู้จักตราสารหนี้

มารู้จักกับพันธบัตร ตราสารหนี้ หุ้นกู้
นักลงทุนส่วนใหญ่มักจะคุ้นเคยกับตราสารทุน หรือ หุ้น เนื่องจากเป็นตราสารหนี้ที่เข้าใจง่าย ไม่มีความซับซ้อน แต่หากกล่าวถึงตราสารหนี้ หลายท่านก็มักจะเริ่มทำหน้าสงสัย แต่เมื่อกล่าวถึงพันธบัตรออมทรัพย์ หุ้นกู้ และตั๋วแลกเงิน ก็จะเริ่มถึงบางอ้อ บางท่านก็อาจจะเคยลงทุนบ้างแต่ก็มักจะไม่ทราบว่าทั้งหมดนี้เรียกโดยรวมว่า ตราสารหนี้ และไม่ทราบว่าตราสารหนี้เหล่านี้แตกต่างกันอย่างไร ทำไมถึงต้องมีชื่อเรียกที่แตกต่างกัน

jumbo jili

ตราสารหนี้ โดยหลัก ๆ แล้ว ออกโดย 3 กลุ่มหลัก ได้แก่

  1. รัฐบาล / หน่วยงานภาครัฐ ซึ่งจะประกอบไปด้วย 3 องค์กรย่อย ได้แก่
    1.1 รัฐบาล(Government)
    • ตั๋วเงินคลัง (Treasury bill): เป็นตราสารหนี้ระยะสั้น มีอายุไม่เกิน 365 วัน
    • พันธบัตรรัฐบาล (Loan bond): เป็นตราสารหนี้ระยะยาว มีอายุตั้งแต่ 365 วัน
    1.2 ธนาคารแห่งประเทศ (Bank of Thailand)
    • ตั๋วเงินธนาคารแห่งประเทศไทย (Central bank bill): เป็นตราสารหนี้ระยะสั้น มีอายุไม่เกิน 365 วัน
    • พันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย (Bank of Thailand bond): เป็นตราสารหนี้ระยะยาวมีอายุตั้งแต่ 365 วัน
    1.3 รัฐวิสาหกิจ (State-owned-enterprise)
    • พันธบัตรรัฐวิสาหกิจ (State-owned-enterprise bond): เป็นตราสารหนี้ระยะยาว มีอายุมากกว่า 365 วัน
  2. บริษัทเอกชน (Corporate company) ตราสารหนี้ที่ออกโดยกลุ่มนี้จะเรียกโดยรวมว่า หุ้นกู้ (Corporate bond)ทั้งนี้ สามารถเลือกออกเป็นระยะสั้น ซึ่งมีอายุไม่เกิน 270 วัน หรือ ระยะยาว ซึ่งมีอายุตั้งแต่ 270 วัน ก็ได้
  3. องค์กรต่างประเทศ (Foreign) ตราสารหนี้ที่ออกโดยกลุ่มนี้จะเรียกว่า ตราสารหนี้ต่างประเทศ (Foreign bond) โดยอาจจะเป็นบริษัทต่างชาติ หรือ หน่วยงานภาครัฐต่างชาติก็ได้ ส่วนใหญ่มักออกเป็นตราสารหนี้ระยะยาว

สล็อต

• หุ้นกับหุ้นกู้ต่างกันอย่างไร
“หุ้นกู้” จัดเป็นตราสารหนี้ ผู้ถือตราสารหรือนักลงทุน “มีสถานะเป็นเจ้าหนี้” ผลตอบแทนที่ได้จะมีความสม่ำเสมอและแน่นอนโดยอยู่ในรูปของดอกเบี้ย (Interest) ตลอดอายุตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ โดยความเสี่ยงจะขึ้นอยู่กับอันดับความน่าเชื่อถือของผู้ออกตราสารหนี้ (Credit rating) ว่าบริษัทนั้นมีความแข็งแกร่งเพียงใด มีความสามารถในการชำระดอกเบี้ยและเงินต้นหรือไม่
“หุ้น” จัดเป็นตราสารทุน ผู้ถือตราสารหรือนักลงทุน“มีสถานะเป็นผู้ถือหุ้นหรือเป็นเจ้าของร่วมในบริษัท” ผลตอบแทนที่ได้จะไม่แน่นอน โดยจะมีทั้งส่วนต่างราคาหุ้น (Capital gain) ซึ่งมีความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงผันผวนของราคาได้ทุกวัน (อาจจะกำไรหรือขาดทุนก็ได้) และมีเงินปันผล (Dividend Yield)ซึ่งจะมากหรือน้อยก็ขึ้นอยู่กับผลกำไรของบริษัท
ความแตกต่างที่สำคัญอีกอย่างระหว่าง ตราสารหนี้ กับ ตราสารทุน ก็คือ ในกรณีที่ผู้ออกตราสารไม่สามารถดำเนินกิจการต่อไปได้และอยู่ในสภาพล้มละลาย สิทธิการเรียกร้องในสินทรัพย์ของบริษัทผู้ออกตราสารจะแตกต่างกัน โดยผู้ถือตราสารหนี้ซึ่งมีสถานะเป็นเจ้าหนี้จะมีสิทธิเรียกร้องความเสียหายได้ก่อนผู้ถือตราสารทุนที่มีสถานะเป็นผู้ถือหุ้นไม่ว่าจะเป็นหุ้นสามัญหรือหุ้นบุริมสิทธิก็ตาม
ดังนั้น โดยสรุปสั้น ๆ
“หุ้นกู้” คือ การลงทุนในรูปแบบ “ให้ยืมเงิน (ผู้ลงทุนเป็นเจ้าหนี้)” ผลตอบแทนแน่นอน
“หุ้น” คือ การลงทุนในรูปแบบ “ร่วมเป็นผู้ถือหุ้น” ผลตอบแทนไม่แน่นอน
ตารางเปรียบเทียบความแตกต่างที่สำคัญระหว่าง หุ้น และ หุ้นกู้
• การลงทุนในตราสารหนี้มีประโยชน์อย่างไร

สล็อตออนไลน์

  1. ผลตอบแทนสูงกว่าการฝากเงินกับธนาคาร แต่มีความเสี่ยงที่ต่ำใกล้เคียงกัน: ปัจจุบัน การฝากเงินในบัญชีออมทรัพย์กับธนาคารให้ดอกเบี้ยน้อยกว่าพันธบัตรออมทรัพย์ที่ถือว่าปราศจากความเสี่ยงในเรื่องการผิดนัดชำระหนี้และหากผู้ลงทุนสามารถยอมรับความเสี่ยงในระดับที่สูงขึ้นได้ ก็สามารถที่จะเลือกลงทุนในหุ้นกู้ของบริษัทเอกชนที่มีความน่าเชื่อถือและมีผลประกอบการที่แข็งแกร่งได้ซึ่งจะเสนออัตราผลตอบแทนที่สูงกว่าการลงทุนในพันธบัตรออมทรัพย์ขึ้นไปอีก
  2. เป็นแหล่งรายได้ที่สม่ำเสมอและคาดการณ์ได้: ตราสารหนี้เป็นพันธะสัญญาที่ระบุไว้อย่างชัดเจนให้ผู้ออกตราสารหนี้ต้องจ่ายดอกเบี้ยตามจำนวนงวดที่ระบุไว้ให้แก่ผู้ลงทุนในตราสารหนี้ จนกระทั่งเมื่อครบกำหนดอายุไถ่ถอนก็จะต้องจ่ายคืนเงินต้นทั้งหมดพร้อมดอกเบี้ยงวดสุดท้าย (ถ้ามี)อีกด้วย ทำให้ง่ายต่อการคาดการณ์ว่าในแต่ละปีจะมีรายได้จากดอกเบี้ยปีละเท่าไร และจะได้ในช่วงเวลาใด จึงเหมาะสำหรับนักลงทุนที่ต้องการรายได้ที่แน่นอนสม่ำเสมอ
  3. เงินลงทุนมั่นคงปลอดภัย: ตราสารหนี้ของภาครัฐถือเป็นการลงทุนที่ปลอดภัยไม่มีความเสี่ยงจากการผิดนัดชำระหนี้ (Risk-free) เนื่องจากมีรัฐบาลและหน่วยงานภาครัฐเป็นผู้ออกตราสารหนี้ ส่วนการลงทุนในตราสารหนี้ภาคเอกชนนักลงทุนสามารถที่จะพิจารณาความสามารถในการชำระหนี้ของบริษัทที่สนใจลงทุนได้จาก อันดับความน่าเชื่อถือ (Credit rating)ดังภาพ ซึ่งจะเห็นว่ายิ่งอยู่ในอันดับที่สูงก็ยิ่งมีความเสี่ยงต่ำ
  4. ตัวช่วยในการลดความเสี่ยงของพอร์ตโฟลิโอการลงทุน:เนื่องจากตราสารหนี้จัดเป็นสินทรัพย์การลงทุนที่มีความเสี่ยงต่ำ จึงทำให้กลายเป็นหนึ่งในสินทรัพย์ที่เป็นที่นิยมในการนำไปใช้ประกอบการจัดกลุ่มสินทรัพย์ลงทุน (Asset Allocation) เพื่อลดความเสี่ยงของพอร์ตโฟลิโอการลงทุน
  5. สามารถซื้อขายเปลี่ยนมือได้ โดยไม่ต้องรอครบกำหนดอายุไถ่ถอน: ตราสารหนี้มีตลาดรองที่เปิดให้มีการซื้อขายเปลี่ยนมือได้โดยไม่ต้องรอให้ถึงวันครบกำหนดอายุ อย่างไรก็ตาม สิ่งหนึ่งที่ผู้ลงทุนต้องพึงระวัง คือ สภาพคล่องในการซื้อขายซึ่งอาจแตกต่างกันไปตามแต่ตราสารหนี้นั้น ๆ

jumboslot

• ตราสารหนี้มีกี่ประเภท
ผู้ที่ออกตราสารหนี้สามารถออกได้โดย 3 กลุ่มหลัก ได้แก่ ภาครัฐ บริษัทเอกชน และองค์กรต่างประเทศ อย่างไรก็ตามตราสารหนี้ที่ออกเหล่านี้สามารถออกได้หลากหลายประเภทและมีคุณสมบัติที่แตกต่างกันไปโดยขึ้นอยู่กับผู้ออกว่าต้องการกำหนดให้ตราสารหนี้แต่ละรุ่นมีลักษณะอย่างไรบ้าง ดังต่อไปนี้
แบ่งตามลำดับสิทธิเรียกร้องการชำระหนี้
แบ่งตามรูปแบบดอกเบี้ย
แบ่งตามวิธีการชำระคืนเงินต้น (Principle payment)
แบ่งตามเงื่อนไขพิเศษที่แฝงในตราสารหนี้ (Options)
แบ่งตามประเภทอื่นๆ

  1. ตราสารหนี้มีประกัน (Secured bond) ตราสารหนี้ประเภทนี้ผู้ออกจะนำสินทรัพย์ซึ่งอาจเป็นอสังหาริมทรัพย์ เช่น ที่ดิน ตึก หรือ สังหาริมทรัพย์ เช่น สินค้าในโรงงาน มาเป็นหลักประกันในการออก โดยผู้ลงทุนหรือผู้ถือจะมีบุริมสิทธิเหนือสินทรัพย์นั้น โดย ก.ล.ต. บังคับว่าหุ้นกู้ประเภทนี้จะต้องจัดให้มี “ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้” ทำหน้าที่แทนผู้ถือหุ้นกู้ในการรับจำนอง จำนำ หรือรับหลักประกัน และใช้สิทธิบังคับหลักประกัน รวมทั้งตรวจสอบสถานะของสินทรัพย์ที่นำมาค้ำประกันด้วยทำให้ตราสารหนี้ประเภทนี้จัดเป็นเจ้าหนี้ลำดับต้นๆ ที่มีสิทธิในการเรียกร้องชำระหนี้
    การออกตราสารหนี้ประเภทนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยเพิ่มความน่าสนใจให้แก่นักลงทุน ในบางกรณีบริษัทเอกชนบางรายอาจมีฐานะทางการเงินไม่ดีพอที่จะดึงดูดนักลงทุนให้มาซื้อตราสารหนี้ได้ จึงต้องใช้หลักประกันมาช่วยเสริม หรือในกรณีที่เป็นการออกตราสารหนี้เพื่อระดมทุนในการสร้างโครงการใดๆ ก็สามารถนำทรัพย์สินของโครงการนั้นมาเป็นหลักทรัพย์ค้ำประกันได้

slot

  1. ตราสารหนี้ไม่มีประกัน(Unsecured bond) ตราสารหนี้ประเภทนี้จะไม่ได้จัดให้มีหลักประกันใดๆ ในการออก โดยผู้ออกตราสารหนี้ชนิดนี้สามารถออกให้เป็นตราสารหนี้ไม่ด้อยสิทธิ (Senior bond) ซึ่งจะมีฐานะเทียบเท่าเจ้าหนี้สามัญทั่วไปของบริษัทหรืออาจออกให้เป็นหุ้นกู้ด้อยสิทธิ (Subordinated bond) ที่มีการกำหนดสิทธิของผู้ถือไว้ต่ำกว่าสิทธิของเจ้าหนี้สามัญทั่วไปก็ได้
    2.1 ตราสารหนี้ด้อยสิทธิ (Subordinated bond) ตราสารหนี้ประเภทนี้ นักลงทุนหรือผู้ถือ แม้ว่าจะมีฐานะเป็นเจ้าหนี้แต่จะมีสิทธิที่ด้อยกว่าเจ้าหนี้สามัญรายอื่นๆในการเรียกร้องการชำระหนี้จากบริษัทผู้ออกหากมีการผิดนัดชำระหนี้หรือล้มละลาย แต่ยังได้รับสิทธิเรียกร้องก่อนผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิ และหุ้นสามัญ
    2.2 ตราสารหนี้ไม่ด้อยสิทธิ (Seniorbond) ตราสารหนี้ประเภทนี้ นักลงทุนหรือผู้ถือจะมีสิทธิทัดเทียมกับเจ้าหนี้สามัญรายอื่นๆในการเรียกร้องให้ชำระหนี้ โดยได้สิทธิเรียกร้องก่อนผู้ถือตราสารหนี้ด้อยสิทธิ ผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิ และผู้ถือหุ้นสามัญตามลำดับ
    การแบ่งประเภทตราสารหนี้ตามสิทธิการเรียกร้องทั้งสองกรณีข้างต้นนี้ จะเกิดขึ้นเฉพาะในกรณีที่จะมีการเฉลี่ยทรัพย์หรือการชำระบัญชีบริษัท เนื่องจากบริษัทผู้ออกตราสารถูกพิทักษ์ทรัพย์ ถูกพิพากษาให้ล้มละลาย มีการชำระบัญชีเพื่อเลิกกิจการ หรือกรณีอื่นใดที่ได้รับความเห็นชอบจากสำนักงาน ก.ล.ต. แต่ถ้าไม่มีกรณีดังกล่าว การชำระดอกเบี้ยและเงินต้นในระหว่างงวดหรือเมื่อครบกำหนดไถ่ถอนจะเป็นไปตามปกติที่กำหนดไว้ในหนังสือชี้ชวน

กองทุนแบบไหนตอบโจทย์มนุษย์เงินเดือน

ในคำจำกัดความของ “มนุษย์เงินเดือน” ที่รายได้หลักจะได้มาจากการรับเงินเดือนในแต่ละเดือนนั้น จะเห็นได้ว่า รายได้จะเป็นจำนวนที่คงที่ในทุก ๆ เดือน ซึ่งเมื่อทำงานไประยะหนึ่ง มนุษย์เงินเดือนอย่างเรา ๆ ท่าน ๆ ทั้งหลาย อาจจะเริ่มสังเกตว่า

jumbo jili

รายได้มีคงที่ทุกเดือน แต่รายจ่ายทำไมถึงไม่คงที่บ้าง โดยอาจจะสูงขึ้นไปเรื่อย ๆ จากความต้องการของทั้งตัวเอง และคนรอบข้าง ซึ่งจะส่งผลให้จำนวนตัวเลขเงินเก็บในธนาคารไม่ได้มีเพิ่มขึ้นตามอายุการทำงานเลย ซึ่งจะทำให้ชีวิตในอนาคตมีแนวโน้มเสี่ยงต่อปัญหาเรื่องค่าใช้จ่ายได้ ดังนั้น การหันมามองเรื่อง
นอกจากนั้นแล้ว การซื้อบ้านหลังแรกยังทำให้เราได้รับสิทธิประโยชน์ทางด้านภาษีผ่านหลาย ๆ มาตรการจากรัฐบาล เช่น นำดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเพื่อที่อยู่อาศัยไปหักลดหย่อนภาษีเงินได้ตามที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 100,000 บาท หรือนโยบายภาษีสำหรับการซื้อบ้านหลังแรก หวังว่าเพื่อน ๆ ที่กำลังมองหาช่องทางการลงทุน คงจะเห็นแล้วว่าการซื้อบ้านหลังแรกนับเป็นการลงทุนระยะยาว ที่ให้ผลประโยชน์ในระยะสั้นในด้านภาษีอีกด้วยครับ “การลงทุน” จึงเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับมนุษย์เงินเดือน ซึ่งสามารถทำได้โดยอาศัยความรู้ในเรื่องการลงทุนเพื่อมองหากองทุนที่สามารถเริ่มต้นลงทุนได้ก่อน

แนวคิดสำหรับผู้เริ่มต้นลงทุน

สล็อต

สำหรับผู้เริ่มต้นการลงทุนที่อาจจะไม่คุ้นชินกับการลงทุนที่มีความเสี่ยงสูง ๆ การลงทุนในกองทุนรวมตราสารหนี้น่าจะเป็นการเริ่มต้นที่ดี ซึ่งกองทุนรวมตราสารหนี้ คือ กองทุนรวมที่มีนโยบายการลงทุนในตราสารหนี้เป็นหลัก ทั้งตราสารหนี้ภาครัฐ เช่น ตั๋วเงินคลัง พันธบัตรรัฐบาล และหุ้นกู้

ซึ่งจะได้รับผลตอบแทนที่สม่ำเสมอในรูปของอัตราดอกเบี้ย และราคาของหุ้นกู้หรือพันธบัตร แต่ไม่ได้หมายความว่าไม่มีความเสี่ยงเลยนะ เพียงแต่ว่าความผันผวนของราคาหุ้นกู้หรือพันธบัตรจะไม่มากเท่ากับความผันผวนของราคาหุ้นในตลาดหุ้น คือเรียกได้ว่ามีความเสี่ยงในระดับที่ต่ำกว่านั้นเอง ซึ่งกองทุนรวมตราสารหนี้จะมีสองแบบ เรียกว่า กองทุนรวมตราสารหนี้ระยะสั้น และกองทุนรวมตราสารหนี้ระยะยาว

ความแตกต่างของกองทุนรวมทั้งสองแบบ

ความแตกต่างของกองทุนรวมตราสารหนี้ระยะสั้น และกองทุนรวมตราสารหนี้ระยะยาว โดยกองทุนทั้งสองแบบนี้ จะเป็นเรื่องของระยะเวลาในการถือครอง โดยกองทุนรวมตราสารหนี้ระยะสั้นจะมีอายุไม่เกิน 1 ปี ในขณะที่กองทุนรวมตราสารหนี้ระยะยาวจะมีอายุมากกว่า 1 ปีนั่นเอง

สล็อตออนไลน์

ซึ่งความเสี่ยงในการถือครองทั้งสองกองทุนจะมีเหมือนกัน คือ จะเกี่ยวข้องกับความเสี่ยงเรื่องความสามารถในการชำระหนี้ของบริษัทจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ย และการขาดสภาพคล่องของตราสารหนี้นั้น ๆ ซึ่งในฐานะที่เราจะเป็นผู้ลงทุน เราจำเป็นจะต้องศึกษาเพิ่มเติมในเรื่องความเสี่ยง และดูอัตราผลการตอบแทนโดยรวมก่อนที่จะตัดสินใจซื้อ แต่แน่นอนว่า กองทุนรวมตราสารหนี้ แม้จะมีความเสี่ยง แต่เป็นความเสี่ยงที่เรียกได้ว่าอยู่ในระดับต่ำ

ซึ่งจะเหมาะสมสำหรับผู้ที่เริ่มต้นลงทุนและอยากได้ผลตอบแทนสูงกว่าการฝากเงินหรือกองทุนรวมตลาดเงิน และผู้ที่สามารถรับความเสี่ยงได้เล็กน้อย ลองลงทุนดูก่อน เพราะยังไงก็ได้ผลการตอบแทนที่มากกว่าการฝากเงินอย่างแน่นอน นอกจากนี้ ยังสามารถทำการซื้อขายได้ทุกวันทำการ ทำให้เรายังคงมีสภาพคล่องทางการเงินอยู่ในมือเหมือนเดิมนั่นเอง

jumboslot

แต่จะเลือกกองทุนรวมตราสารหนี้ระยะสั้น หรือระยะยาว คำตอบอาจจะบอกได้ยากนิดนึง เพราะผลตอบแทนจากกองทุนตราสารหนี้ต่าง ๆ จะขึ้นอยู่กับการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยเป็นหลัก ซึ่งถ้าดอกเบี้ยมีแนวโน้มเป็นขาขึ้น กองทุนรวมตราสารหนี้ระยะสั้นน่าจะให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า แต่ถ้าดอกเบี้ยมีแนวโน้มเป็นขาลง ก็ควรเลือกลงทุนกับกองทุนรวมตราสารหนี้ระยะยาว ซึ่งแนวโน้มของอัตราดอกเบี้ยในปัจจุบันนี้ ยังคาดการณ์ได้ยาก ดังนั้นเอาเป็นว่า ถ้าอยากจะลองลงทุนในระยะสั้น

ให้เงินอยู่ในระบบการลงทุนไม่นานมากนัก เช่น ให้เงินอยู่ในระบบการลงทุนไม่เกิน 6 เดือน ให้มองหากองทุนรวมตราสารหนี้ระยะสั้น เพื่อดูแนวโน้มและทิศทางการลงทุน แต่ถ้าไม่อยากยุ่งยากและสามารถคงเงินจำนวนนี้ในระบบการลงทุนได้นานกว่า 6 เดือน การลงทุนในกองทุนรวมตราสารหนี้ระยะยาวน่าจะเป็นตัวเลือกที่ดีกว่า เพราะเราสามารถลงทุนได้นานขึ้น และยังขยับตัวไปลงทุนกับกองทุนรวมตราสารหนี้ต่างประเทศเพิ่มเติมได้อีกด้วย

slot

แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น เราเองเป็นแค่นักลงทุนทั่ว ๆ ไป ไม่ได้เป็นนักวิเคราะห์ตัวจริง การลงทุนทุกประเภท เราจำเป็นต้องศึกษาและเลือกกองทุนที่เหมาะสมกับเวลาที่เราต้องการ การลงทุนระยะยาว โดยส่วนใหญ่จะมีความผันผวนบ้างตามอัตราดอกเบี้ยที่มีการขึ้นและลง แต่โดยส่วนมากผลตอบแทนจะดีกว่าการนำเงินไปลงทุนในระยะสั้น และมีความยุ่งยากน้อยกว่าการสลับสับเปลี่ยนกองทุนไป ๆ มา ๆ ด้วย แต่ถ้าต้องการเริ่มต้นศึกษาแนวโน้มและมีเวลาในการติดตามผลการประกอบการของกองทุนรวมต่าง ๆ กองทุนรวมตราสารหนี้ระยะสั้นอาจจะเป็นตัวเลือกที่เหมาะสมในการเริ่มต้นการลงทุนมากกว่า

การเปิดกองทุนเพื่อลงทุน

สำหรับการเปิดกองทุนรวมตราสารหนี้ระยะสั้นและระยะยาว ในปัจจุบันนี้สามารถทำได้ง่าย ๆ โดยการซื้อขายผ่านระบบของตัวแทนจากธนาคารต่าง ๆ ถ้าสนใจซื้อกองทุนของธนาคารไหนสามารถไปเปิดบัญชีซื้อขายที่ธนาคารนั้นได้เลย แต่ต้องศึกษาการซื้อขั้นต่ำของแต่ละธนาคารไว้ด้วย รวมถึงค่าธรรมเนียมและระยะเวลาการขายคืนที่ไม่เหมือนกัน ลองศึกษาดูก่อน แล้วเริ่มต้นให้เงินออมช่วยทำงานให้คุณมากกว่าเดิมอีกนิด เพื่อให้มนุษย์เงินเดือนอย่างเรา ๆ มีเงินเดือนเพิ่มขึ้นมาได้เองในบัญชีที่เราถือครองอยู่ ไม่ได้ลำบากจนเกินความสามารถที่จะทำได้ ขอเพียงมีวินัยในการใช้เงิน และมองหาการลงทุนที่เหมาะสม มนุษย์เงินเดือนอย่างเรา ย่อมสามารถที่จะมีเงินเก็บเงินออมเพื่อความมั่นคงทางการเงินในอนาคตได้อย่างแน่นอนครับ

การคำนวณราคาตราสารหนี้

ผู้สนใจจะลงทุนซื้อหรือขายตราสารหนี้ภาครัฐ สามารถทดลองคำนวณราคาเพื่อประกอบการตัดสินใจ โดยใช้โปรแกรมการคำนวณราคาตราสารหนี้ที่จัดทำโดยสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย : ThaiBMA หรือตลาดตราสารหนี้ : BEX

jumbo jili

โปรแกรมคำนวณราคาตราสารหนี้ของสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย
เครื่องคำนวณตราสารหนี้ของตลาดตราสารหนี้​

  1. เส้นอัตราผลตอบแทนตราสารหนี้รัฐบาล/_catalogs/masterpage/img/expand.png

​เส้นอัตราผลตอบแทนตราสารหนี้รัฐบาล (Government Bond Yield Curve) คือ เส้นแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอัตราผลตอบแทน (Yield) ของตราสารหนี้รัฐบาลในแต่ละช่วงอายุคงเหลือ (Time to Maturity : TTM) โดยที่ Yield คืออัตราผลตอบแทนที่นักลงทุนคาดว่าจะได้รับจากการลงทุน มีหน่วยเป็นร้อยละต่อปี เช่น Yield ของพันธบัตรรัฐบาลอายุ 5 ปี เท่ากับร้อยละ 2.39 ต่อปี หมายถึงในแต่ละปี นักลงทุนที่ซื้อพันธบัตรดังกล่าวจะได้รับผลตอบแทนโดยเฉลี่ยร้อยละ 2.39 และ​Time to Maturity คือ อายุคงเหลือของตราสารหนี้โดยนับระยะเวลาตั้งแต่ปัจจุบันจนถึงวันที่ตราสารหนี้ครบกำหนดไถ่ถอน เช่น พันธบัตรออมทรัพย์ช่วยชาติ อายุ 10 ปี ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 2 กันยายน 2545 อายุคงเหลือของพันธบัตร ณ วันที่ 2 มกราคม 2552 คือ 3 ปี 8 เดือน 3

สล็อต

​​ภาพด้านล่างแสดงเส้นอัตราผลตอบแทนตราสารหนี้รัฐบาลที่ใช้ในประเทศไทย ณ วันที่ 8 มกราคม 2552 ซึ่งสร้างโดยสมาคมตล​​ตราสารหนี้ไทย (Thai Bond Market Association : ThaiBMA)

จากภาพดังกล่าว หากนักลงทุนต้องการทราบว่าควรจะซื้อขาย ณ อัตราผลตอบแทนใดก็สามารถใช้เส้นอัตราผลตอบแทนมาเป็นบรรทัดฐานในการตัดสินใจได้ เช่น ต้องการทราบว่าพันธบัตรรัฐบาลที่มีอายุคงเหลือ 5 ปี และ 10 ปี ในวันที่ 8 มกราคม 2552 ควรมีผลตอบแทนเท่าใด สามารถดูได้จากเส้นอัตราผลตอบแทนนี้ ซึ่งก็คือร้อยละ 2.39 และ 2.98 ตามลำดับ

เส้นอัตราผลตอบแทนตราสารหนี้รัฐบาลนี้ นอกจากจะใช้ประกอบการพิจารณาลงทุนในตราสารหนี้รัฐบาลที่มีช่วงอายุคงเหลือต่าง ๆ ดังกล่าวแล้ว ยังสามารถใช้เป็นอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงสำหรับตราสารหนี้อื่นที่ความเสี่ยงสูงกว่า โดยการบวกส่วนเพิ่ม (spread) เพื่อชดเชยความเสี่ยงที่สูงขึ้น และยังใช้ในการคำนวณราคาเพื่อบันทึกมูลค่าทางบัญชีของตราสารหนี้ด้วย​​​

  1. ความเสี่ยงจากการลงทุนในตราสารหนี้/_catalogs/masterpage/img/expand.png

    ​​​​​การลงทุนในตราสารหนี้ภาครัฐมีความเสี่ยง ดังนี​้

สล็อตออนไลน์

  1. ความเสี่ยงของการเปลี่ยนแปลงราคาที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยในตลาด (Interest Rate Risk หรือ Price Risk หรือ Market Risk)
    เนื่องจากราคาของตราสารหนี้จะเปลี่ยนแปลงในทิศทางตรงกันข้ามกับอัตราดอกเบี้ยในตลาด ดังนั้น เมื่อนักลงทุนต้องการขายตราสารหนี้ก่อนครบกำหนด หากอัตราดอกเบี้ยในตลาดในขณะที่จะขาย สูงกว่าอัตราดอกเบี้ยของตราสารหนี้ที่ถืออยู่ นักลงทุนอาจจะต้องยอมขายในราคาที่ต่ำกว่าราคาตรา
  2. ความเสี่ยงจากการผิดนัดชำระหนี้หรือไม่สามารถชำระหนี้เมื่อครบกำหนดไถ่ถอน (Credit Risk หรือ Default Risk)
    เป็นความเสี่ยงที่เกิดขึ้นในกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้ผิดนัดชำระหรือไม่สามารถชำระหนี้ได้ ซึ่งรวมถึงความเสี่ยงจากการถูกลดความน่าเชื่อถือในระหว่างที่ตราสารหนี้ยังไม่ครบกำหนดไถ่ถอน ตราสารหนี้ภาครัฐถือได้ว่าเป็นตราสารหนี้ที่มีความเสี่ยงชนิดนี้ต่ำมาก ดังนั้นอัตราผลตอบแทนที่ได้รับจึงมักต่ำกว่าตราสารหนี้ภาคเอกชน​
  3. ความเสี่ยงจากการขาดสภาพคล่อง (Liquidity Risk)
    คือ ความเสี่ยงจากการขาดสภาพคล่องของการซื้อขายตราสารหนี้ ทำให้ไม่สามารถซื้อขายตราสารหนี้ในจังหวะเวลาและราคาที่เหมาะสมได้ หรือหากต้องการจะซื้อขายจริงอาจจะต้องมีการเพิ่มหรือลดราคา เพื่อดึงดูดให้มีการตกลงซื้อขายเกิดขึ้น แต่ถ้าผู้ลงทุนถือตราสารหนี้ไปจนถึงวันครบกำหนดไถ่ถอนก็จะไม่มีความเสี่ยงชนิดนี้เกิดขึ้น

jumboslot

  1. ความเสี่ยงจากภาวะเงินเฟ้อ (Inflation Risk)
    คือ ความเสี่ยงอันเนื่องมาจากการลดลงของอำนาจซื้อ โดยปกติอัตราดอกเบี้ยส่วนใหญ่มีการกำหนดเอาไว้คงที่ ซึ่งผลของเงินเฟ้อจะลดค่าของเงินลงทั้งดอกเบี้ยที่ได้รับในแต่ละงวดและเงินต้นที่จะได้รับคืนในงวดสุดท้าย

ข้อมูลเพิ่มเติมความเสี่ยงจากการลงทุนในตราสารหนี้ทั่วไป

http://www.fpo.go.th/S-I/Source/ECO/ECO33.htm

  1. ตลาดตราสารหนี้/_catalogs/masterpage/img/expand.png

    ​​​การซื้อขายตราสารหนี้สามารถทำได้ทั้งจากตลาดแรกและตลาดรอง ดังนี้

slot

ตลาดแรก (Primary Market)
การซื้อขายในตลาดแรกจะเกิดขึ้นเมื่อผู้ออกตราสารหนี้ทำการขายตราสารหนี้ให้แก่นักลงทุนในตลาดเป็นครั้งแรก แบ่งออกเป็น

​1. การจำหน่ายให้ผู้ซื้อรายย่อย
มีวัตถุประสงค์เพื่อการออมเงินผู้มีสิทธิซื้อประกอบด้วยบุคคลธรรมดาที่ถือสัญชาติไทยหรือที่มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทยและนิติบุคคลที่ไม่แสวงหากำไร ในการจำหน่ายแต่ละครั้งผู้ออกตราสารหนี้จะเป็นผู้กำหนดให้ธนาคารพาณิชย์หรือธนาคารออมสินเป็นตัวแทนจำหน่ายโดย ธปท. เป็นผู้กำกับดูแลการจัดจำหน่าย นายทะเบียน และตัวแทนการจ่ายเงินค่าดอกเบี้ยและต้นเงิน

  1. การจำหน่ายให้แก่นักลงทุนสถาบันด้วยวิธีการประมูล​​
    ​ในปัจจุบัน ธปท. เปิดให้มีการประมูล 2 แบบ คือ

​2.1 การประมูลแบบแข่งขันราคา (Competitive Bid) ​
หมายถึง การเสนอประมูลอัตราผลตอบแทน และจำนวนเงินที่ต้องการ ซึ่งผู้มีสิทธิเข้าประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนต่ำสุดจะได้รับการจัดสรรวงเงินก่อน แล้วจึงจัดสรรให้ผู้มีสิทธิเข้าประมูลที่เสนออัตราผลตอบแทนที่สูงขึ้นไปตามลำดับจนครบวงเงินที่ออกจำหน่ายราคาที่ต้องชำระสำหรับการประมูลแบบนี้ คำนวณจากอัตราผลตอบแทนที่เสนอ ดังนั้นจำนวนเงินที่แต่ละรายต้องชำระจึงแตกต่างกัน

2.2 การประมูลแบบไม่แข่งขันราคา (Non-Competitive Bid) ​​
หมายถึง การเสนอซื้อในจำนวนเงินที่ต้องการ โดยอัตราผลตอบแทนที่ผู้มีสิทธิเข้าเสนอซื้อและได้รับจัดสรรทุกราย จะเท่ากับอัตราผลตอบแทนถัวเฉลี่ยในการประมูลแบบแข่งขันราคาที่จัดจำหน่ายในคราวเดียวกัน ทั้งนี้ ผู้มีสิทธิเข้าประมูลและผู้มีสิทธิเข้าเสนอซื้อ จะกำหนดไว้ในประกาศการจำหน่ายตราสารหนี้รุ่นนั้น ๆ ราคาที่ต้องชำระ คำนวณจากอัตราผลตอบแทนถัวเฉลี่ยที่ประมูลได้จากการประมูลแบบแข่งขันราคา ซึ่ง ธปท. จะประกาศอัตราผลตอบแทนถัวเฉลี่ยที่ประมูลได้ พร้อมทั้งอัตราต่ำสุด-สูงสุด ทางเว็บไซต์ของ ธปท. และผ่านระบบ e-Bidding​

ตลาดรอง (Secondary Market)
ตลาดรอง หมายถึง ตลาดที่ผู้ซื้อและผู้ขายสามารถทำการซื้อขายตราสารหนี้หลังจากที่ได้มีการซื้อขายในตลาดแรกเรียบร้อยแล้ว ผู้ขายในตลาดรองคือนักลงทุนซึ่งถือครองตราสารหนี้อยู่ และต้องการขายตราสารหนี้ฉบับนั้นออกไป การซื้อขายตราสารหนี้ในตลาดรองสามารถทำได้ดังนี้

การซื้อขายกันเอง หรือเรียกว่า Over the Counter : OTC ไม่มีสถานที่แน่นอน ผู้ซื้อและผู้ขายสามารถติดต่อเพื่อตกลงราคากันได้เอง หรืออาจติดต่อผ่านสถาบันการเงินโดยการเจรจาต่อรองทางโทรศัพท์ ราคาซื้อขายจึงขึ้นอยู่กับอำนาจการต่อรองระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย ในปัจจุบันสถาบันการเงินบางแห่งจะกำหนดราคาเสนอซื้อ (Bid) และราคาเสนอขาย (Offer) ผ่านเว็บไซต์ของสถาบันการเงินนั้น ๆ สถาบันการเงินแต่ละแห่งจะเสนอราคาซื้อขายแตกต่างกัน ดังนั้นผู้ซื้อและผู้ขายอาจจะต้องติดต่อสถาบันหลายแห่งเพื่อเปรียบเทียบราคา และอาจศึกษาเส้นอัตราผลตอบแทน (Yield Curve) เพิ่มเติมเพื่อใช้เปรียบเทียบกับอัตราผลตอบแทนที่สถาบันการเงินแต่ละแห่งเสนอ
​การซื้อขายผ่านระบบ Bond Electronic Exchange : BEX ดำเนินการภายใต้ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย นักลงทุนที่ต้องการซื้อขายตราสารหนี้ผ่านระบบ BEX ต้องเปิดบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์กับบริษัทสมาชิกหรือโบรกเกอร์ คลิกเพื่อเรียกดูรายชื่อบริษัทสมาชิกหรือโบรกเกอร์ วิธีการซื้อขายทำได้โดยนักลงทุนส่งคำสั่งซื้อหรือขายผ่านเจ้าหน้าที่การตลาดตราสารหนี้ของบริษัทสมาชิกหรือโบรกเกอร์ แล้วเจ้าหน้าที่การตลาดฯ จะเป็นผู้ส่งคำสั่งซื้อหรือขายต่อเข้าไปยังระบบการซื้อขายของตลาดหลักทรัพย์ฯ และแจ้งยืนยันผลการซื้อขายให้นักลงทุนทราบ
​รายชื่อสถาบันการเงินที่ติดต่อซื้อขายตราสารหนี้กับนักลงทุนรายย่อย (เว็บไซต์สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย)​​​

ประโยชน์ของตราสารหนี้

​​​ในด้านภาพรวมและผู้ออกตราสารหนี้​
ลดการพึ่งพาเงินทุนจากต่างประเทศ

jumbo jili

เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารเงิน เนื่องจากผู้ออกตราสารสามารถกำหนดต้นทุนและระยะเวลาได้แน่นอน
เป็นเครื่องมือในการดำเนินนโยบายการเงิน เพื่อดูแลสภาพคล่อง และอัตราดอกเบี้ยให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมต่อสภาวะเศรษฐกิจ เพื่อให้ระบบเศรษฐกิจมีเสถียรภาพ
ในด้านผู้ถือกรรมสิทธิ์
ได้รับผลตอบแทนแน่นอนและสม่ำเสมอ
ใช้เป็นหลักประกันกับส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือสถาบันการเงิน ในเรื่องต่าง ๆ เช่น
การประกวดราคา​
การจ้างทำงานต่าง ๆ เช่น ก่อสร้างอาคาร ถนน วางท่อระบายน้ำ จัดทำของที่ระลึก
การเบิกเงินล่วงหน้าในการจ้างงาน
การศึกษา การทำงานและการใช้สวัสดิการเงินกู้
การชำระค่ากระแสไฟฟ้า

สล็อต

ดำรงสินทรัพย์ตาม พรบ. ธุรกิจสถาบันการเงิน หรือ พรบ. การประกันภัย
การประกันตัวผู้ต้องหาทางคดีความ
การขอทุเลาการชำระภาษี
การกู้เงินหรือเบิกเกินบัญชี
การขอออกหนังสือค้ำประกัน​​
ผลตอบแทนที่ได้รับจากการลงทุนในตราสารหนี้ ได้แก่
ดอกเบี้ย (Interest) ซึ่งผู้ออกตราสารต้องจ่ายให้แก่ผู้ถือกรรมสิทธิ์ ตามที่ระบุไว้ในสัญญา ปกติจะจ่ายดอกเบี้ยปีละ 2 ครั้ง
ส่วนลด (Discount) ผลต่างระหว่างราคาไถ่ถอนกับราคาซื้อ
กำไรหรือขาดทุนจากการขายตราสารหนี้ก่อนครบกำหนดไถ่ถอน (Capital Gain or Capital Loss) ซึ่งเป็นผลต่างระหว่างราคาขายกับราคาซื้อ

สล็อตออนไลน์

การประมาณราคาหรือมูลค่าของตราสารหนี้/_catalogs/masterpage/img/expand.png

​ ราคาหรือมูลค่าของตราสารหนี้ คือ มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินที่จะได้รับจากดอกเบี้ยในงวดที่เหลืออยู่และต้นเงินที่จะได้รับเมื่อครบกำหนดไถ่ถอน หรือเรียกว่าเป็นการคำนวณราคาหรือมูลค่าตามเวลา (Time Value of Money) อาจคำนวณได้คร่าว ๆ ว่าควรจะสูงหรือต่ำกว่าราคาตรา โดยการเปรียบเทียบระหว่างอัตราดอกเบี้ยในตลาด (อัตราผลตอบแทนที่ต้องการ) กับอัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋ว (coupon) ​

ตัวอย่างการประมาณราคาตราสารหนี้โดยเปรียบเทียบจากอัตราดอกเบี้ยในตลาด
สมมติว่า มีตราสารหนี้ฉบับหนึ่ง ราคาตรา 1,000 บาท อัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋ว (coupon) กำหนดไว้ 6% ​

​​​​กรณีที่ 1 อัตราดอกเบี้ยในตลาดเท่ากับอัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋ว 6%
ราคาของตราสารหนี้ฉบับนี้ควรเท่ากับราคาตราคือ 1,000 บาท เนื่องจากอัตราดอกเบี้ยในตลาด ณ ขณะนั้นเท่ากับอัตราดอกเบี้ยที่กำหนดไว้หน้าตั๋ว จึงไม่มีความแตกต่างของอัตราผลตอบแทนที่จะได้รับจากการซื้อตราสารหนี้ฉบับนี้กับการลงทุนประเภทอื่น ๆ ในตลาดขณะนั้น ​

jumboslot

กรณีที่ 2 อัตราดอกเบี้ยในตลาดลดลงเหลือ 4%​
ราคาของตราสารหนี้ฉบับนี้ควรจะสูงกว่าราคาตรา เนื่องจากอัตราดอกเบี้ยในตลาด ณ ขณะนั้นต่ำกว่าอัตราดอกเบี้ยที่กำหนดไว้หน้าตั๋ว ผู้ซื้อจึงต้องยอมจ่ายสูงกว่าราคาตรา เพื่อจะได้รับดอกเบี้ยที่กำหนดไว้ 6% ซึ่งสูงกว่าการลงทุนประเภทอื่น ๆ ในตลาดขณะนั้นที่ให้ผลตอบแทนเพียง 4%

​​​​กรณีที่ 3 อัตราดอกเบี้ยในตลาดเพิ่มขึ้นเป็น 8%
ราคาของตราสารหนี้ฉบับนี้ควรจะต่ำกว่าราคาตรา เนื่องจากอัตราดอกเบี้ยในตลาด ณ ขณะนั้นสูงกว่าอัตราดอกเบี้ยที่กำหนดไว้หน้าตั๋ว ผู้ขายจึงต้องยอมขายต่ำกว่าราคาตรา เพราะหากผู้ซื้อเลือกที่จะไปลงทุนประเภทอื่น ๆ ในตลาดขณะนั้นจะได้รับผลตอบแทนถึง 8% ซึ่งสูงกว่าดอกเบี้ยที่จะได้รับจากการถือกรรมสิทธิ์ในตราสารหนี้ที่กำหนดไว้เพียง 6%

slot

ความแตกต่างระหว่าง Dirty Price กับ Clean Price
ราคาซื้อขายตราสารหนี้โดยปกติเป็นราคาที่รวมดอกเบี้ยค้างรับ (ดอกเบี้ยสำหรับระยะเวลาที่ผู้ขายควรจะได้รับจากการถือกรรมสิทธิ์ในตราสารหนี้นั้น นับแต่วันจ่ายดอกเบี้ยครั้งล่าสุดจนถึงวันที่ทำการซื้อขาย) เข้าไปด้วย เรียกว่า Dirty Price หรือ Gross Price ส่วนราคาที่ไม่รวมดอกเบี้ยค้างรับเรียกว่า Clean Price​

ปัจจัยอื่น ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อราคาตราสารหนี้
นอกจากอัตราดอกเบี้ยในตลาดแล้ว ยังมีปัจจัยอื่น ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อราคาของตราสารหนี้ เช่น อันดับความน่าเชื่อถือ หรือ Credit rating ของตราสารรุ่นนั้น ๆ หรือของผู้ออกตราสารหนี้ หากตราสารหนี้หรือผู้ออกตราสารหนี้ถูกปรับลดอันดับเครดิต (Downgrade) ก็จะส่งผลให้นักลงทุนเรียกร้องอัตราผลตอบแทนในการลงทุนในตราสารหนี้นั้น ๆ สูงขึ้นเพื่อชดเชยความเสี่ยง และจะส่งผลให้ราคาของตราสารหนี้นั้นลดลง นอกจากนั้น ปัจจัยทางเศรษฐกิจอื่น เช่น อัตราเงินเฟ้อ ก็ส่งผลถึงการคาดการณ์ทิศทางอัตราดอกเบี้ยของตลาด ซึ่งจะมีผลต่อเนื่องมาถึงราคาของตราสารหนี้เช่นเดียวกัน